ขณะที่เสนอความคิดเห็นในเรื่องนี้ ผมตระหนักดีว่า หลายต่อหลายคนที่นั่งอยู่ในที่นี้มีรายได้หลักจากการทำงานในโรงงานเผาขยะ และอาจจะโต้แย้งอยู่ในใจกับสิ่งที่ผมกำลังจะพูด ผมขอปรบมือให้กับหน่วยงานที่จัดการประชุมครั้งนี้ (หมายเหตุ – ผู้เขียนหมายถึงการประชุมการจัดการนานาชาติประจำปีครั้งที่ 4 เรื่อง โรงไฟฟ้าขยะ(Waste-to-Energy) วันที่ 24-25 พฤศจิกายน 2541 ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ) ที่มีความกล้าพอในการอนุญาตให้ผมมาพูดในวันนี้ … More
Tag: ไดออกซิน
ทางออกจากวงจรอุบาทว์ของโรงไฟฟ้าขยะ
หลายต่อหลายครั้ง หลังจากที่นำเสนอชุดความคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะในแบบของผม มักจะมีคำถามตอกกลับมาว่า “ ถ้าไม่เผาแล้วจะจัดการขยะอย่างไร? ” คำถามเช่นนี้ดูจะมีน้ำหนักมากขึ้นเมื่อนำมาพิจารณาประกอบกับข้อเท็จจริงที่ว่า พื้นที่ฝังกลบขยะนั้นนับวันยิ่งลดลงและหายากเต็มที คำถามนี้ส่วนใหญ่มาจากคนที่เลือกใช้เทคโนโลยีไปแล้ว ทั้งนี้คงเป็นเพราะพวกเขาคุ้นเคยกับวิธีการแก้ปัญหา แบบ ”เปิดปุ๊บติดปั๊บ” ที่บรรดาเซลส์แมนเสนอให้ ซึ่งมักได้ยินกันบ่อย ๆ ในทำนองที่ว่า คุณจ่ายเราเท่านี้แล้วเราจะแก้ปัญหาขยะให้คุณ ถึงจุดนี้ ผมใคร่จะบอกว่า “ … More
การบริโภคที่ล้นเกิน ความอ่อนน้อมถ่อมตน และการอยู่รอดบนโลกที่ทรัพยากรครอบครองโดยกลุ่มคน 1%
บทความนี้เรียบเรียงจากการบรรยายในการประชุมสัมนาเรื่องวิทยาศาสตร์นานาชาติและการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยคอร์แนลล์ เมื่อวันที่ 8 – 12 มิถุนายน 2539 โดย ดร. พอล คอนเนทท์ พอล คอนเนทท์ เป็นศาสตราจารย์ประจำภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยเซนต์ลอเรนซ์ เมืองแคนตัน นิวยอร์คตั้งแต่ปี 2526 … More
การเผาขยะติดเชื้อและของเสียทางการแพทย์ :ความไม่เข้ากันของปัญหาและทางออก
แปลเรียบเรียงจากบทความเรื่อง Medical Waste Incinerator : Mismatch Between Problem and Solution ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Work on Waste USA.inc., 82 Judson, Canton, New York … More